๊
ถ้าเป็นผู้รู้-ผู้ศึกษา/คุ้นเคยในภาษาต่างประเทศ โดยเฉพาะศัพท์ american local ย่อมทราบดีว่า sentenceนี้-นี่คือบทสนทนาแบบพื้นๆ ไม่เป็นทางการ
แต่เป็นการ ด่าว่า-ติเตียน กับคนสนิท[เทียบได้กับลูกจ้าง~คนงาน]ที่ค่อนข้างจะ รุนแรง ประมาณว่า โง่เซ่อ~งี่เง่า
และ/หรือ จะมองให้เป็นในอีกบริบทหนึ่ง ก็คือการเปรียบเทียบเชิง idiom ซึ่งโดยรวมแล้วความหมายคือ
เข้าใจผิด เช่นกันนั่นเอง-นั้น ก็ย่อมได้ /
แต่ไม่สมควรยิ่ง เพราะรูปประโยคไม่ได้สร้างให้ไปในทิศทางนั้น
แถมยังมี การจงใจแบ่งพยางค์ด้วยสี เอาไว้ให้ตีความ~ถอดรหัสอีกตะหาก !!! ซึ่ง ตรงนี้ นักเรียนนัก'ษาภาษาฯปี.๑ ย่อมจะต้องคิดมากกว่า ๖ หน้าบนลูกเต้า ๑ ลูก ก่อนที่จะทำข้อทดสอบภาษาต่างประเทศ อังกฤษ~อเมริกัน ที่ร่ำเรียนกันอยู่นั้นรูปประโยคที่ กรองคำ ยกมานี้ เป็นรูปแบบ ๑ ของ/
ในบทเรียนเก่าแก่ตามระบบ ร.ร.สอนภาษา AUA&USIS ที่จะ เน้นการรู้-ใช้ คำศัพท์เฉพาะถิ่น-เฉพาะทาง เฉพาะกาล-เฉพาะงาน นั้นๆ กันมากไม่น้อยกว่าศัพท์หลักตามมาตรฐาน ทั้งนี้ ก็เพื่อให้ นักเรียน AFS/นักเรียนทุนแลกเปลี่ยน เอาตัวรอดในการสนทนาเนื่องกับ familYและคนเมืองนั้น ๆ อย่างได้เรื่องได้ความ พอสมควรแก่ภูมิรู้พื้นฐานในฐานะ นศ.แลกเปลี่ยนทุนจากไทยแลนด์แดนยิ้มสวย คือช่วยให้ไม่ไป เด๋อกับภาษาถิ่น'เมกา หรือออกท่าโชว์โง่ ๕ แต้มง่ายนัก-บ่อยนัก
lumberjacker ศัพท์ตัวนี้ ไม่มี-ไม่น่าจะมี-และ ไม่ควรจะมีใน Dic.เล่มใด จากสำนักไหนในโลกภาษาสากลนี้ เพราะ ถึงจะ มี
some half slang as skyjacker & hijacker ที่จะเปิดเจอจาก Dic. จากของบางสำนักพิมพ์
แต่สำหรับ
lumberjacker นี้ เป็น local/site slang ซึ่งจะ มี ออกมาให้ได้ยิน ก็จากปากของผู้คนในสังคม/ชุมชนคนทำไม้ พวกป่าไม้-ปางไม้-ป่าซุง กับพวกตำรวจป่าไม้/เจ้าหน้าที่ป่าสงวน และพนักงาน-คนงานตัดไม้ เช่นที่ SF/Cal. หรือสโมสรตร.ปม.ในเขต ลุยซิยอานา~เนวาด้าทางใต้ของ U.S./และในเมืองป่าซุงของโตรอนโต้-แคนาดา
และ ในบทเพลงพื้นเมืองพื้นบ้านประจำถิ่น-ที่ชุมชนคนป่าซุงร้องเล่นแกล้มเหล้าคลายเหงาใจกัน กับในวรรณกรรมตะวันตกของบางนักเขียนระดับ best seller หลายๆท่าน ที่เป็นเรื่องเล่าเกี่ยวกับชีวิตคนเของป่าซุงยุคเคบอยสมัยก่อนเก่า เช่นท่านผู้เฒ่า ลุยส์ เลอมู,ลุยส์ เป็นต้น
เช่นเดียวกับคำว่า
barkup ซึ่งแสดงลักษณะที่ผิดปรกติของ verb ไว้อย่างชัดเจน ย่อมจะผิดสังเกตได้ง่ายกว่า
lumberjacker ที่หมายถึงพวกลักลอบตัดไม้ผิดกฏหมาย ในบริบทที่ใช้กับประโยคนั้น
barkup จึงมีฐานะเป็น noun~คำนาม แบบกระเทยตามรูปประโยคนั้นๆไป เพราะเป็นคำเฉพาะที่ใช้เรียก timber forestry
license plate ของต้นไม้สำคัญ ต้นไม้หวงห้าม ฯลฯ อันหมายถึง แผ่นตราบอกฐานะไม้ห้ามตัดในเขตป่าสัมปทานและป่าสงวนโดยรัฐ
เป็นคำเฉพาะงานเฉพาะอาชีพ และในหลายๆที่ทางในถิ่นฐานหน้างานของคนป่าซุงก็เอาคำว่า barkup เหน็บปากไว้ใช้บอกใบ้กันกับ
รอยบากที่เป็นตำหนิหมายรู้บนลำต้นของต้นไม้ยืนต้นที่รัฐห้ามตัด ในเขตป่านั้นๆในถิ่นนั้นๆ เท่านั้นเอง
ซึ่งไม่มีเนื้อหาหรือตำนานอะไรที่เกี่ยวโยงถึงสุนัขหรือเสียง-กิริยาของสุนัขแต่อย่างใด-ทั้งสิ้น
barkup เป็นคำที่ใช้อยู่เฉพาะกลุ่มคน ณ ชุมชน-อาชีพ ๑ เช่นที่มีข้อสังเกตจากสมาชิกฯท่านแอ๊ด คคห.ที่ ๑. ที่ มองด้วยมุมกว้างอย่างให้พื้นที่ว่างแก่ผู้ถาม เพื่อที่จะได้เอาไปคิด ต่อยอด สืบหาความรู้ ไต่ทางสู่ความรู้ชัด-รู้กว้างอย่างแท้จริงต่อไป ตามเจตนาอันดีของสมาชิกฯห้องสมุดผู้เอื้อเฟื้อต่อผู้เข้ามา หยั่งเอาเสียงไปหนุนใช้
ซึ่งคนที่ถามหยั่งคนอื่นแบบนี้ คือ
login Carroth ผู้นี้ ไม่มีการให้พื้นที่ว่างในการ แถก-แถ ให้แก่ตัวเองมาแต่ไหนแต่ไร จึงผลีผลามคว้าเอาความตั้งใจดี-สิ่งที่ท่านสมาชิกฯผู้มีไมตรี ได้แบ่งปันให้ด้วยความบริสุทธิ์ใจ-ที่ให้เขา login Carroth นำออกไปใช้เพื่อ ฟาดฟันจะเอาชนะคนคู่กรณี
เวทีวิวาทะกรรมกับคู่กรณี<Click link]ทำไม กรองคำ จึงกล้าชี้ กล่าวหาว่า
login Carroth เข้ามาเพียงจะ
หยั่งเอาเสียงออกไปหนุนใช้ ไม่ใช่การเข้ามาถามขอรับความรู้อย่างที่เขียนขอมาบนหัวกระทู้นั้น
ก็..จงเปิดใจกว้าง อ่าน-พิจารณาดูเถิด ท่านสมาชิกฯผู้ที่ให้สิ่งที่รู้เป็น วิทยาทาน ด้วยบริสุทธิ์ใจ ทุกสิ่งอย่างย่อมมีต้นสาย~มีปลายทาง มีเหตุ~มีกรรม และมีที่ไป~มีที่มา
ไม่มีเงาผี สุนัขย่อมไม่เห่าหอน คือ ธรรมตามจริงอีกข้อ ๑
จึงนำเรียนมา เพื่อทราบ ด้วยความนับถือในผูู้้ที่มีวิทยาทานเป็น ธรรมตามจริง คือสมาชิกฯ ณ ห้องสมุดพันทิป ทุกท่านที่มีจิดเอื้อเฟื้อฯ