 |
เรื่องการละเมิดผลงานของ จักษณ์ จันทร น่าจะเป็นกรณีศึกษาได้อีกกรณีหนึ่ง เหมือนดังที่นักเขียนหนุ่มได้ทิ้งท้ายไว้ สำนักพิมพ์ควรร่างสัญญาให้รัดกุมพร้อมระบุบทลงโทษที่ชัดเจนเป็นมาตรฐานเดียวกันเพื่อขจัดปัญหาเรื้อรังนี้ให้หมดไปจากแวดวงวรรณกรรม หรือหากบรรณาธิการต้องการตรวจสอบเบื้องต้นก่อนเข้าสู่กระบวนการผลิตว่างานเขียนที่ได้รับการพิจารณาลอกเลียนผู้อื่นมาหรือไม่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ไพเราะ เบญจกุล (2552) ระบุว่าสามารถตรวจสอบได้จากแหล่งสืบค้นเหล่านี้ http://www.Plagiarism.org, http://www.Plagiarism.com และ <http://www.turnitin.com>
บรรณานุกรม กรมทรัพย์สินทางปัญญา. พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 [Online]. <<http://www.ipthailand.go.th/ipthailand/index.php?option=com_docman&task=cat_view&gid=213&Itemid=470>> (8 มีนาคม 2555) บุษบา มาตระกูล. Plagiarism โจรกรรมทางวรรณกรรม. ก้าวทันโลกวิทยาศาสตร์. 8,2. (2551) : 7-10. ใบหม่อน. แรงบันดาลใจ-ลอก [Online]. <<http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=bai-mon&group=1>> (8 มีนาคม 2555) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ไพเราะ เบญจกุล หยุด ! การขโมยคัดลอกผลงานของผู้อื่น วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์. 7,2 . (กรกฎาคม-ธันวาคม 2552) : 4-5. วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. โจรกรรมทางวรรณกรรม [Online]. < <http://th.wikipedia.org/wiki>>. (8 มีนาคม 2555)
จากคุณ |
:
turbo cat
|
เขียนเมื่อ |
:
21 มี.ค. 55 21:42:42
|
|
|
|
 |