 |
ความคิดเห็นที่ 2 |
คำแปลจากคุณ : ~นางสาวมารร้าย~อักษรานรี~
ต่อค่ะ
In its Judgment, the Court found that the subject of the dispute was sovereignty over the region of the Temple of Preah Vihear. This ancient sanctuary, partially in ruins, stood on a promontory of the Dangrek range of mountains which constituted the boundary between Cambodia and Thailand. The dispute had its fons et origo in the boundary settlements made in the period 1904-1908 between France, then conducting the foreign relations of Indo-China, and Siam. The application of the Treaty of 13 February 1904 was, in particular, involved. That Treaty established the general character of the frontier the exact boundary of which was to be delimited by a Franco-Siamese Mixed Commission ในการตัดสินครั้งนี้ ศาลเห็นว่าเหตุแห่งการพิพาทครั้งนี้คือสิทธิ์ในการครอบครองดินแดนบริเวณ เขาพระวิหาร ปราสาทหินโบราณซึ่งส่วนหนึ่งถูกทำลายเสียหายนี้ตั้งอยู่บนชะง่อนผาบนเทือกเขาพนมดงรัก (หรือเทือกเขาดงรัก) ซึ่งเทือกเขานี้เป็นเส้นเขตแดนที่กั้นระหว่างประเทศกัมพูชาและประเทศไทย การพิพาทครั้งนี้มี (fons et origo = source and origin) ที่มาจากการขีดเส้นแบ่งแผนที่ที่กระทำขึ้นในช่วงปี ๒๔๔๗-๒๔๕๑ ระหว่างประเทศฝรั่งเศสและประเทศสยาม ซึ่งขณะนั้นฝรั่งเศสกำลังดำเนินการเจริญสัมพันธไมตรี ระหว่างประเทศกับประเทศในแถบอินโดจีน ข้อเรียกร้องในสนธิสัญญาที่ทำในวันที่ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๔๔๗ ก็มีส่วนพัวพันอยู่ด้วย สนธิสัญญาฉบับนั้นได้กำหนดการปักปันเส้นเขตแดนเอาไว้โดยคณะกรรมาธิการของฝรั่งเศส และสยาม (Franco-Siamese Mixed Commission)
In the eastern sector of the Dangrek range, in which Preah Vihear was situated, the frontier was to follow the watershed line. For the purpose of delimiting that frontier, it was agreed, at a meeting held on 2 December 1906, that the Mixed Commission should travel along the Dangrek range carrying out all the necessary reconnaissance, and that a survey officer of the French section of the Commission should survey the whole of the eastern part of the range. It had not been contested that the Presidents of the French and Siamese sections duly made this journey, in the course of which they visited the Temple of Preah Vihear. In January-February 1907, the President of the French section had reported to his Government that the frontier-line had been definitely established. It therefore seemed clear that a frontier had been surveyed and fixed, although there was no record of any decision and no reference to the Dangrek region in any minutes of the meetings of the Commission after 2 December 1906. Moreover, at the time when the Commission might have met for the purpose of winding up its work, attention was directed towards the conclusion of a further Franco-Siamese boundary treaty, the Treaty of 23 March 1907. ด้านฝั่งตะวันออกของเทือกเขาพนมดงรักอันเป็นเขตที่เขาพระวิหารตั้งอยู่ ให้ถือเขตแดนตามแนวเส้นสันปันน้ำ และเพื่อการปักปันแบ่งเขตแดนนั้น ในการประชุมเมื่อวันที่ ๒ ธันวาคม ๒๔๔๙ ก็ได้ตกลงและยอมรับกันว่า คณะกรรมาธิการจะต้องเดินทางไปที่เทือกเขาพนมดงรัก เพื่อทำการสำรวจต่างๆที่จำเป็น และคณะกรรมาธิการผู้สำรวจของฝ่ายฝรั่งเศสจะต้องสำรวจเทือกเขาฝั่งตะวันออกทั้งหมด (การเดินทางไปเยือนเขาพระวิหารครั้งนี้ประธานกรรมาธิการทั้งฝ่ายฝรั่งเศสและสยามไม่ได้กำหนดระยะเวลาเอาไว้- ประโยคนี้ไม่แน่ใจค่ะ) ในเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ ปี ๒๔๕๐ ประธานคณะกรรมาธิการฝ่ายฝรั่งเศส ได้รายงานต่อรัฐบาลฝ่ายตนว่าได้จัดทำเส้นเขตแดนเสร็จเรียบร้อยแล้ว ซึ่งก็ดูเหมือนจะเป็นที่แน่นอนแล้วว่า อาณาเขตนั้นได้ถูกสำรวจและจัดระเบียบเรียบร้อยแล้วแม้ว่าจะไม่มีการประชุมหรือการอ้างอิงใดๆ เกี่ยวกับเขตแดนบริเวณนี้หลังจากการประชุมเมื่อวันที่ ๒ ธันวาคม ๒๔๔๙ ก็ตาม และนอกจากนั้นเมื่อมีการประชุมคณะกรรมาธิการซึ่งควรจะประชุมกันเพื่อหาข้อสรุปในภารกิจการสำรวจนั้น แต่กลับเป็นว่ามุ่งความสนใจไปที่การหาข้อสรุปและความคืบหน้าในการทำสนธิสัญญา ซึ่งก็คือสนธิสัญญาในวันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๔๕๐ นั่นเอง
จากคุณ |
:
คือ.........ฉันเอง
|
เขียนเมื่อ |
:
30 ก.ย. 52 10:39:06
A:58.9.221.5 X:
|
|
|
|
 |