ขั้นตอนของการกระทำ | ผลที่เกิดต่อชีวิตหรือทรัพย์สิน | ความรับผิดทางกฎหมาย | หลักฐานที่ปรากกฏ |
1.ประกาศใช้อำนาจตามพรก.การบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน | ไม่มีผู้เสียชีวิตหรือทรัพย์สินเสียหาย | ไม่มีการละเมิดต่อกฎหมายหรือชีวิตหรือทรัพย์สินผู้ใด-->ไม่มีความผิดต่อกฎหมาย | มีประกาศในราชกิจจานุเบกษา |
2.การนำกำลังทหารติดอาวุธเข้ามา | ไม่มีผู้เสียชีวิตหรือทรัพย์สินเสียหาย | ไม่มีการละเมิดต่อกฎหมายหรือชีวิตหรือทรัพย์สินผู้ใ-->ไม่มีความผิดต่อกฎหมาย | หนังสือคำสั่งตามปกติของหน่วยทหาร + คำให้การ |
3.การที่ทหารเบิกกระสุนจริงเพื่อเตรียมใช้ | ไม่มีผู้เสียชีวิตหรือทรัพย์สินเสียหาย | ไม่มีการละเมิดต่อกฎหมายหรือชีวิตหรือทรัพย์สินผู้ใด--> ไม่มีความผิดต่อกฎหมาย | หลักฐานการเบิกจ่ายตามบัญชีเบิกจ่ายที่ปฏิบัติอยู่เดิม |
4.การนำหน่วยสไนเปอร์เข้ามานำพื้นที่ | ไม่มีผู้เสียชีวิตหรือทรัพย์สินเสียหาย | ไม่มีการละเมิดต่อกฎหมายหรือชีวิตหรือทรัพย์สินผู้ใด-->ไม่มีความผิดต่อกฎหมาย | หนังสือคำสั่งตามปกติของหน่วยทหาร + คำให้การ |
5.การปฏิบัติการของทหารในพื้นที่ในเหตุการณ์จริง | มีผู้เสียชีวิตหรือทรัพย์สินเสียหาย | ไม่ต้องรับผิดหาก การเสียชีวิตนั้นเกิดจาก 1 ผู้ก่อความไม่สงบ เข้าปะทะกับเจ้าหน้าที่ด้วยอาวุธ 2.ผู้ชุมุนมสร้างสถานการณ์เสียเองด้วยการแอบซุ่มทำร้ายประชาชนเพื่อป้ายความผิด 3.เจ้าหน้าที่ลุแก่อารมณ์หรือลุแก่อำนาจ ทำร้ายประชาชนทั้งๆที่ศอฉ.ไม่ได้มีคำสั่ง ผู้สั่งการจะต้องรับผิดหาก เป็นผู้สั่งให้มีการฆ่าโดยไม่สมเหตุผลเท่านั้น | หลักฐานจากคำสั่งศอฉ. + พยาน
ในเวลานี้ไม่มีหลักฐานว่มีคำสั่งให้ฆ่าผู้อื่น มีแต่การให้ใช้อาวุธตามกฏการใช้กำลัง ซึ่งพรก.ฉุกเฉินคุ้มครอง |