 |
ถ้าจะพูดถึงกลไกทางการตลาดก็ต้องย้อนไปถึง Adam Smith ใน The wealth of Nation
"By preferring the support of domestic to that of foreign industry, he intends only his own security; and by directing that industry in such a manner as its produce may be of the greatest value, he intends only his own gain, and he is in this, as in many other cases, led by an invisible hand to promote an end which was no part of his intention. Nor is it always the worse for the society that it was not part of it. By pursuing his own interest he frequently promotes that of the society more effectually than when ^^ally intends to promote it. I have never known much good done by those who affected to trade for the public good. It is an affectation, indeed, not very common among merchants, and very few words need be employed in dissuading them from it."
แต่ถามจริงๆ อ. นิดา อยากได้แบบของ Smith แท้ๆเหรอครับ? ในการบริหารประเทศทุกประเทศในโลกบิดเบือนกลไกทางการตลาดผ่านทาง Tax & Regulation อยู่แล้ว ไม่มีประเทศไหนที่บ้าจี้พอที่จะเปิดตลาดเสรี 100% อย่างกลุ่ม EU ก็จะใช้ Regulation ในการบิดเบือนราคาสินค้า อย่างเช่นกฎหมายสิ่งแวดล้อมฯลฯ หรือแม้แต่การ Subsidies เกษตรกรในประเทศตัวเองก็เช่นกัน
นโยบายไม่ว่าจะจำนำหรือประกันรายได้ มันก็เป็นการบิดเบือนทั้งคู่นั่นแหละ ไม่ต้องมาเถียงกัน สิ่งที่ควรมาเถียงกันคือ
1)ควรจะทำหรือไม่
ถ้าตอบว่าจำเป็นต้องทำค่อยมาถามคำถามต่อไปว่า
2) จะทำในรูปแบบไหน
มันก็เท่านั้นเอง การเอาข้ออ้างที่ว่าบิดเบือนกลไกทางการตลาดมาใช้นี่ผมว่ามันเป็นข้ออ้างที่ #$@#%@$$^# ที่สุดเท่าที่เคยได้ยินมาเลย
จากคุณ |
:
Nexus
|
เขียนเมื่อ |
:
4 ต.ค. 55 15:55:54
A:110.171.170.98 X:
|
|
|
|
 |