ความคิดเห็นที่ 33
ธรรมชาติของภาษาที่มาจากการรวมกันบนความต่างของแต่ละวัฒนธรรมกับโลกาภิวัฒน์ เราปฎิเสธ ปฎิสัมพันธ์ความเกี่ยวเนื่องอันนี้(อิทัปฯ) ของโลกาภิวัฒน์ไม่ได้
และภาษามันมีเงื่อนไข ที่เป็นมากกว่าท่วงทำนอง แต่เป็นจิตวิญาน อารมณ์ความรู้สึกนึกคิดที่สะท้อนผ่าน ผลรวมของ อาตย,ผัสสะ(การรับเข้า)ของแต่ละคนที่แต่ละคนก็คือเป็นผลรวมของกรรมหรือเป็นการกระทำของคนๆนั้น(ยิ่งรับเข้าผ่านการศึกษามากก้ยิ่งจะสะท้อนทำนองของภาษาที่ถูกเก็บไว้ต่างออกไป)
ดังนั้นภาษามันมีทำนองเฉพาะตัวของมันการสื่อหรือการส่งต้องคำนึงถึงความต่างผู้ฟังหรือผู้รับ แต่ถ้าเน้นที่อารมณ์ความรู้สึกหรือความเป็นต้นแบบ สื่อตรงอารมณ์นั้น
บางที่ฮาร์ดคอล,อิ๊บฮ็อฟ แร็ฟเร็วๆ เราฟังไม่รู้เรื่อง แต่หลายครั้งมันก็ให้อรรถรสในการฟังในเจตนาแบบไหน? แต่ก้มีหลายคนที่ไม่ใช่ต้นฉบับฟังรู้เรื่อง ได้ทั้งอรรถรสและเนื้อหาสาระที่สื่อ
ภาษามันเป็นทำนองเฉพาะตัวครับ?อย่าให้กรอบของอัตตาไปตีกรอบหรือตั้งข้อรังเกียจ หรือหยุดความเป้นโลกาภิวัฒฯของมัน ไม่ให้มันไปโผล่ที่โน่นที่นี่ ไม่ได้ แต่ต้องวัดเจตนาของการนำไปใช้มากกว่า
บางที ลาติน,แร็ฟ,ร้อค อาจจะมีโอกาสมาโค้งรำวงกับจังหว่ะไทย ใกล้เคียงกับสามช่า ข้อสำคัญคือให้รู้ตัวหรือควบคุมดุแลตัวเองให้สอดคล้องลงตัวกับความเป็นโลกาภิวัฒน์ของมัน(คือไม่ให้เหยียบขากัน)
และถ้าความคิดต่างทางหยิ๋น(กระทู้) กับหย๋างอย่างคุณมังกรดำ ทำหน้าที่ของมันได้อย่างเหมาะสมถ่วงดุลจัดสมดุลกันจนพอดีเมื่อไหร่? ความต่างของภาษาก็จะ"รำวงสามมัคคีกัน" แต่ถ้าไม่พอดี หนักข้างยำข้าง ?เพราะคุยคนละภาษาจนถึงคุยกันไม่รู้เรื่องเมื่อไหร่ก็จะ ก็จะกลายเป็นรำวงสหบาท สหบาทา ภาษาใครภาษามันจึงไม่ใช่ปัญหาแค่เหยียบขา มันอาจจะเลยไปถึงหน้าถึงก้านคอกัน???
จากคุณ :
ตอม
- [
11 เม.ย. 47 12:22:52
A:203.151.206.82 X:202.176.134.150
]
|
|
|