ความคิดเห็นที่ 356
ความจริง ก็ต้องมีการกลั่นกรองเสรีภาพบนอินเทอร์เน็ตบ้าง แต่ ความพอดี จะอยู่ตรงไหนล่ะ เพราะมันเกี่ยวข้องกับ กฏหมาย เทคนิค และมนุษย์ ซึ่งเป็นสิ่งที่ไม่คงที่มีการเบี่ยงเบนสูง
ในที่สุด คือ เราไม่เห็นด้วยกับการควบคุมจำกัดเสรีภาพบนโลกออน์ไลน์ เพราะเราเชื่อว่า มนุษย์มีแนวโน้มที่จะรู้จักมีรู้จักใช้ในสิ่งที่ถูกต้อง ดี งาม (โดยปัจเจกบุคคล และคนในสงคมช่วยกันเอง)
และจึงเห็นด้วยกับพันทิบที่ไม่ร่วมลงชื่อกับโครงการดังกล่าวนี้นี้ เพราะว่า "เนื้อโครงการยังไม่ชัดเจน"
สุดท้ายขอฝากข้อมูลข่าวสาร เรื่องการติดตามกิจกรรมเกี่ยวกับเรื่องนี้ในระดับโลกมาแปะไว้ให้อ่านกัน (กำลังเจาะมาเขียนไว้ที่บล็อก) เพื่อพิจารณาเบื้องต้น สำหรับตั้งคำถามว่า มีสถาบันหรือองค์กรใดในบ้านเราที่สนใจศึกษาเรื่องนี้อย่างจริงจังบ้างใหม่?
อ่านแล้ว ลองตั้งคำถามว่า Cyber Green มันอยู่ตรงไหนกัน แล้วจะทำให้มันเป็นสีเขียวได้ยังไง และทีว่าเขียว หรือไม่เขียวนั้น มองจากสายตาของใคร ที่ไหน เมื่อไหร และทำไมจึงเห็นเช่นนั้น <a href ='http://www.opennetinitiative.net/modules.php?op=modload&name=Sections&file=index&req=viewarticle&artid=1' target='_blank'>The OpenNet Initiative</a>
The number of states seeking to control the Internet has risen rapidly in the recent years. Mustering powerful and at times compelling arguments -- "securing intellectual property rights," "protecting national security," "preserving cultural norms and religious values," and "shielding children from pornography and exploitation" -- extensive filtering and surveillance practices are being proposed and put in place to curb the perceived lawlessness of the medium. Although these practices occur mostly in non-democratic regimes, many democratic countries, led by the US, are also seeking to police the Internet. Some regulation is to be expected as the medium matures. However, filtering and surveillance can seriously erode civil liberties and privacy and stifle global communications.
จากคุณ :
a_somjai
- [
18 พ.ย. 48 10:15:11
]
|
|
|