 |
ความหมายของศาสนา
คำว่า “ศาสนา” มีรากศัพท์มาจากภาษาสันสกฤตคือ ศาสนัม ตรงกับศัพท์ภาษาบาลี คือ สาสนะ แปลว่า คำสั่งสอน ข้อบังคับ
ปัจจุบัน คาดว่า ศาสนา นักปราชญ์ให้ความหมายกว้างและแคบแตกต่างกัน และมีทั้งคล้ายคลึงและแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับทัศนะของแต่ละคน และแต่ละกลุ่มความหมายที่นักปราชญ์แต่ละคนให้ไว้คือ
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ได้ให้ความหมายไว้ว่า “ศาสน-, ศาสนา (สาสะนะ, สาดสะนะ, สาดสะหนา) น. ลัทธิความเชื่อถือของมนุษย์อันมีหลักคือ แสดงกำเนิดและความสิ้นสุดของโลก เป็นต้น อันเป็นไปในฝ่ายปรมัตถ์ประการหนึ่ง แสดงหลักธรรมเกี่ยวกับบุญบาปอันเป็นไปในฝ่ายศีลธรรมประการหนึ่งพร้อมทั้งลัทธิพิธีที่กระทาตามความเห็นหรือตามคาสั่งสอนในความเชื่อถือนั้นๆ”
ศาสนากับ Religion
คำว่า ศาสนา ที่ใช้กันในภาษาไทย แปลมาจากภาษาอังกฤษคือ Religion คำว่า Religion ภาษาอังกฤษ มีรากศัพท์มาจากภาษาละตินคือRel-igio
แต่ซิเซโร (Cicero) นักปราชญ์ชาวโรมันอธิบายว่า คำว่า Religion มาจาก Lig แปลว่า การปฏิบัติ การตั้งใจทา หมายถึง การปฏิบัติตามคาสั่งจากสวรรค์
ต่อมา เซอร์เวียส หรือ เซอร์วีอุส (Servius) นักปราชญ์ชาวโรมันกล่าวถึงคำ Religion ว่ามาจาก Leg แปลว่า ผูกผัน หมายถึง การทำความผูกพันระหว่างมนุษย์กับสิ่งที่สูงกว่ามนุษย์ คือ พระเจ้า
ในสมัยต่อมา ออกัสตินมหาราช (Augustin, the Great) ทรงรวบรวมความหมายของรากศัพท์คือ Lig กับ Leg เข้ามารวมกัน แล้วให้ความหมายใหม่ว่า การปฏิบัติตามคาสั่งจากสวรรค์ เพื่อให้เกิดความผูกพันระหว่างมนุษย์กับสภาพอันสูงสุดคือพระเจ้า คำว่า สภาพอันสูงสุดได้แก่ สภาพที่เป็นสุขาวดีไม่มีความทุกข์ใดๆ ดังนั้น คำว่า Religion ตามทัศนะของชาวตะวันตก หมายถึง
1. เชื่อว่าผู้สร้างโลกและสรรพสิ่ง คือ เทพเจ้า 2. เชื่อว่า เทพเจ้าเป็นผู้ประทานคำสอนให้แก่มวลมนุษย์ เป็นเทวโองการอันศักดิ์สิทธิ์ การละเมิดบัญญัติของศาสนาถือว่าเป็นบาปหนัก 3. ผู้นับถือยอมมอบกายถวายชีวิตแด่เทพเจ้าด้วยความจงรักภักดี เชื่อในคำสอนอย่างดุษฎีโดยไม่มีข้อโต้แย้ง ไม่แตะต้องในเรื่องเทพเจ้าและโองการของพระองค์
สำหรับศาสนาของชาวตะวันออกบางศาสนาที่ไม่มีพระเจ้า ความหมายของคำว่า ศาสนาจึงไม่ตรงกับคำแปลมาจากภาษาอังกฤษ เช่น พระพุทธศาสนา เป็นต้น
http://ilc.swu.ac.th/download/SWU353/%20บทที่%203จริยธรรมตามหลักศาสนา.pdf
Religion (from O.Fr. religion "religious community," from L. religionem (nom. religio) "respect for what is sacred, reverence for the gods,"[4] "obligation, the bond between man and the gods"[5]) is derived from the Latin religiō, the ultimate origins of which are obscure. One possibility is derivation from a reduplicated *le-ligare, an interpretation traced to Cicero connecting lego "read", i.e. re (again) + lego in the sense of "choose", "go over again" or "consider carefully". Modern scholars such as Tom Harpur and Joseph Campbell favor the derivation from ligare "bind, connect", probably from a prefixed re-ligare, i.e. re (again) + ligare or "to reconnect," which was made prominent by St. Augustine, following the interpretation of Lactantius.[6][7] The medieval usage alternates with order in designating bonded communities like those of monastic orders: "we hear of the 'religion' of the Golden Fleece, of a knight 'of the religion of Avys'".[8]
According to the philologist Max Müller, the root of the English word "religion", the Latin religio, was originally used to mean only "reverence for God or the gods, careful pondering of divine things, piety" (which Cicero further derived to mean "diligence").[9][10] Max Müller characterized many other cultures around the world, including Egypt, Persia, and India, as having a similar power structure at this point in history. What is called ancient religion today, they would have only called "law".
http://en.wikipedia.org/wiki/Religion
จากคุณ |
:
ต็กโกวคิ้วป้าย
|
เขียนเมื่อ |
:
5 ก.ย. 55 10:12:40
|
|
|
|
 |