|
ความคิดเห็นที่ 3 |
ตัวอย่าง
เช่น นักลงทุนมีเงินได้อื่น ไม่รวมเงินได้จากเงินปันผล ที่นำไปคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหลังหักค่าลดหย่อนต่างๆ แล้ว ที่ 2,000,000 บาท นักลงทุนต้องเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาที่ 435,000 บาท อยู่ในฐานอัตราภาษีร้อยละ 30
1 - 150,000 = 150,000 ได้รับยกเว้นภาษี
150,001 - 500,000 = 350,000 เสีย 10% เท่ากับ 35,000
500,001 - 1,000,000 = 500,000 เสีย 20% เท่ากับ 100,000
1,000,001 - 2,000,000 = 1,000,000 เสีย 30% เท่ากับ 300,000
รวม 435,000.00
ถ้านักลงทุนมีเงินปันผลก่อนหักภาษี ณ ที่จ่าย 100,000 บาท ที่สามารถเครดิตภาษีได้ในอัตราร้อยละ 30 มาคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เงินปันผลก่อนหักภาษี ณ ที่จ่าย 100,000 บาท บวกเครดิตภาษี 42,857.14 บาท รวมเท่ากับ 142,857.14 บาท
1 - 150,000 = 150,000 ได้รับยกเว้น 150,001 - 500,000 = 350,000 เสียภาษี 10% เท่ากับ 35,000 500,001 - 1,000,000 = 500,000 เสียภาษี 20% เท่ากับ 100,000 ,000,001 - 2,142,857 = 1,142,857 เสียภาษี 30% เท่ากับ 342,857.00
รวมภาษี 477,857.14 หัก เครดิตภาษี และภาษีหัก ณ ที่จ่าย 52,857.14
ภาษีที่ต้องชำระ 425,000.00
จะเห็นได้ว่าประหยัดไป 10,000 บาท ตามสูตรที่ได้คำนวณไว้ จาก ส่วนต่างภาษี
แก้ไขเมื่อ 06 ส.ค. 53 00:49:36
จากคุณ |
:
totop
|
เขียนเมื่อ |
:
6 ส.ค. 53 00:47:23
|
|
|
|
|