|
เหรียญมีสองด้านครับ การควบคุมด้านสิ่งแวดล้อมต้องเข้มงวด การควบคุมพวกต่อต้าน ก็ต้องเข้มงวดเช่นกัน
ตัวอย่างเช่น
นอกจากกฏหมายสิ่งแวดล้อมใน USA เข้มแข็งแล้ว กฎหมาย NGO ของ USA ก็เด็ดขาดเช่นกันครับ
------
ตัวอย่าง การควบคุม NGO ที่รับเงินต่างชาติ ต้องเข้มงวด
Foreign Agents Registration Act (FARA)
รัฐบาล สหรัฐอเมริกา มีกฏหมาย จำคุกสิบปี สำหรับผู้ที่รับเงินต่างชาติ โดยไม่แจ้งแก่ สถาบันอัยการของรัฐ เพื่อป้องกันการโฆษณาชวนเชื่อขององค์กรเอกชนต่างๆ
FCRA was introduced in 1973 with primary aim of preventing the use of foreign funds for anti-social and anti-national activities. It was passed by the parliament in 1976. Since then it has gone through significant amendments and modifications (essentially in 1985). This act covers all types of associations – charitable, non-charitable, political, social, educational, etc. Contributions include any kind of article (worth more than Rs 1000), currency and foreign security. Foreign sources include any foreign government, international agency, foreign company, trade union, foreign trust/society, foreign citizen, etc. United Nations and its specialized agencies like World Bank, IMF, etc are excluded from this act.
This basically means that for obtaining foreign contributions, the NGO has to fulfill one of the following requirements:
1. It must be registered with Central Government for receiving such funds
2. It must obtain prior permission from FCRA department for case to case basis
ในการรับเงินจากต่างชาติ NGO ต้องดำเนินการดังนี้ 1. ต้องขึ้นทะเบียนกับรัฐบาล 2.ต้องได้รับอนุมัติการรับเงินต่างชาติเป็นกรณีๆไป
----------------------------
1 อะไรคือกฏหมายแสดงรายรับ NGO ของอเมริกา (FARA)
FARA คือคำย่อของกฏหมายของสหรัฐอเมริกาที่เริ่มใช้ในปี 1938 กฏหมายนี้ควบคุมให้ผู้ที่กระทำการต้องขึ้นทะเบียนของตัวกลางกระทำการต่างชาติ
2 อะไรคือวัตถุประสงค์ของ FARA
วัตถุประสงค์ของ FARA เพื่อเป็นกฏหมายที่ทำให้รัฐบาลสหรัฐและประชาชนสหรัฐได้ทราบถึงแหล่งที่มาข้อมูลการโฆษณาชวนเชื่อ และทราบตัวตนที่แท้จริงของบุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่พยายามมีอิทธิพลต่อสาธารณะชน ที่พยายามกระทำตัวมีส่วนร่วมในการตัดสินใจทางความคิดเห็นของสาธารณะชน นโยบาย และกฏหมายต่างๆของประเทศ
ในปี 1938 ตอนที่ออกกฏหมายนี้ใหม่ๆ สถาณการณ์ในประเทศสหรัฐอเมริกาเต็มไปด้วยผู้คนที่ปลุกระดมประเทศอเมริกาให้เข้าข้างฝ่ายเยอรมันนีก่อนที่ จะเกิดสงครามโลกครั้งที่สอง จึงทำให้สภาคองเกรสเห็นความสำคัญของข่าวสารเงินทุนที่มาจากต่างประเทศเพื่อหวังผลต่อการกำหนดนโยบายของชาติไปในทิศทางที่ตอบสนองความต้องการของต่างชาติ
3 FARA บังคับให้แสดงรายการเฉพาะเงินทุนอุดหนุนที่ได้จากรัฐบาลของต่างชาติเท่านั้นใช่หรือไม่
ไม่ใช่ กฏหมายนี้ครอบคลุมถึงการอุดหนุนจากพรรคการเมืองนอกสหรัฐ และบุคคลส่วนตัว หรือองค์กรอื่นๆใดทั้งสิ้นที่เป็นต่างชาติ หรืออยู่ภายใต้กฏหมายต่างชาติหรือมีสำนักงานใหญ่อยู่นออเมริกา ข้อยกเว้นของกฏหมายฉบับนี้ยกเว้นเพียงการอุดหนุนจากบุคคลหรือองค์กรที่เป็นชาติสหรัฐเองเท่านั้น
------------------------------
กลไกของกฏหมาย FARA เป็นอย่างไร
1.กฏหมายฉบับนี้บังคับให้ตัวกลางทุกประเภทที่รับเงินจากต่างชาติต้องขึ้นทะเบียนกับกระทรวงยุติธรรมสหรัฐและต้องกรอกแบบฟอร์มที่แสดงถึงสัญญาระหว่างผู้ให้เงินทุนกับผู้รับทุนและรายละเอียดค่าใช้จ่ายต่างๆในฐานะเงินทุนต่างชาติ แบบฟอรืมนี้เปิดเผยต่อสาธารณะและจะต้องมีการรายงานทุกหกเดือน
2.กฏหมายฉบับนี้บังคับให้เอกสารทุกฉบับและการประชาสัมพันธ์ทุกประเภทที่กระทำโดยเงินทุนจากต่างชาติจะต้องแสดงสลากหรือประโยคที่เตือนประชาชนผู้รับข่าวสารว่าผู้ที่เผยแพร่และสร้างข่าวสารนั้นกระทำโดยการอุดหนุนจากต่างประเทศ และข่าวสารที่จะเผยแพร่ต้องนำส่งสำเนาต่อสำนักงานอัยการของรัฐเพื่อบันทึกไว้เป็นหลักฐานเสมอ
3.ก่อนที่หน่วยงานหรือบุคคลดังกล่าวจะที่กระทำการให้ข้อมูลแก่สมาชิกรัฐสภาคองเกรสจะต้องส่งสำเนาคำให้การข้อมูลต่างๆแก่คณะกรรมการที่รักาการตามกกหมายนี้
4.หน่วยงาน NGO จะต้องเก็บบันทึกต่างๆเพื่อการตรวจสอบย้อนได้และต้องอนุญาตให้อัยการของรัฐเข้าตรวจสอบได้
---------
จากคุณ |
:
. (รู้คุณ)
|
เขียนเมื่อ |
:
9 ธ.ค. 54 22:52:36
|
|
|
|
|