ถ้าถามว่า ทำไมจึงเป็นเช่นนั้น ก็เพราะ ออร์บิตอล ไงครับ
นึกถึง อิเล็กตรอน มันผลักกันเอง ใช่มะ
งั้น ทำไง ให้มันอยู่ด้วยกันได้
ก็คือ มันจะกระจายตัว รักษาระยะห่างกันไว้
ที่นี้ ปริมาตรทรงกลม 360องศา x 360 องศา จะใส่ได้กี่ตัวดี
คำตอบคือ ชั้นแรก วงเล็กหน่อยได้ 2, ชั้นต่อไปวงใหญ่ได้หน่อย 8, 8, ชั้นที่สี่ใหญ่อีกได้ 18, 18, 32, 32
อย่างไรก็ตาม ในทางปฏิบัติ อิเล็กตรอนไม่ได้อยู่ประจำที่ แต่วิ่งเร็วซะด้วย
ตัดปัญหาตำแหน่งที่แท้จริงไฮเซนเบิร์กจึงกล่าวว่า ตำแหน่งอิเล็กตอน ไม่แน่นอน
แต่อยู่เป็นกลุ่มหมอก ในลักษณะพบอิเล็กตรอนได้ในบางบริเวณ
บริเวณที่พบอิเล็กตรอน เรียกว่า ออร์บิตอลของอะตอม
รูปร่างของออร์บิตอล ทำให้เกิดหลักออกเตต
และเหตุเดียวกัน ทำให้ธาตุหมู่เดียวกัน มีลักษณะคล้ายกัน
เพราะ วงนอกสุด เป็นชุดแรกที่สัมผัสกับอะตอมอื่น
พุดง่ายๆ คือ วงนอกสุด ที่ทำปฏิกิริยา
จำนวนวงนอกสุด มี1ตัว ก็เกิดเป็นรูปแบบที่1 ..
ถ้ามี2 ก็รูปแบบปฏิกิริยาแบบที่2 ...
จนครบ 8 หมู่หลัก กับ หมู่ในทรานซิชั่น
กับ หมู่คล้ายแลนทาไนด์คล้ายแอคทิไนด์
รูปจาก http://chemlinks.beloit.edu/Stars/pages/orbitals.html