ขอแบ่ง ระดับ การใช้ พลังงาน ของเครื่องยนต์ ดังนี้
1) idle เดินเบา ใช้เชื้อเพลิงน้อย เดินเบาทิ้งไว้นาน น้ำมันไม่ยอมหมด
เรียกเรียกหัวใจเต้นระดับ The Energy Efficient or Recovery Zone
คือพอดี (Food) Fuel Intake = Energy Output
2) Partial Load เครื่องออกแรงบางส่วน ยัง กั๊ก ไว้อีก
เรียกหัวใจเต้น ระดับ The Aerobic Zone คำว่า Aerobic คือ with Air ร่างกายได้ดึง Air มาช่วยเผาพลังงาน อุณหภูมิร่างกายเพิ่มขึ้น อาจช่วยเพิ่มอุณหภูมิได้เล็กน้อย ช่วยการเผาผลาญให้ดีขึ้น
หัวใจเต้นระดับนี้... เมื่อนักกีฬาอุ่นเครื่องแล้ว ร่างกายหลั่งโฮโมน Endorphin เป็นโฮโมนแห่งความสุข นักกีฬามีความสุข สดชื่น จะรู้สึกวิ่งตัวเบา วิ่งไปได้เรื่อยๆ สวนลุม 4 รอบ 10 กม.ไม่ใช่เรื่องยาก (ฝึกซ้อมก่อนนะ นี่เป็นประสบการณ์ตัวเอง)
upper Limit .... คือ เชื้อเพลิงหมด หมดแรงข้าวต้ม
3) Full-Load ออกแรงเต็มที่ ..... ตรงนี้ คือ จุดที่นักวิ่งมาราธอนจะต้องฝึก เพื่อทะลายกำแพง AT หรือ Anaerobic Threshold ....จะกล่าวต่อไป... ข้างล่าง
หัวใจเต็นระดับ The Anaerobic Zone ที่ระดับนี้ การหายใจแรง มี Air พอจะเผาผลาญเป็นพลังงาน + เชื้อเพลิงในร่างกาย
ที่ระดับนี้ Fat เป็นแหล่งเชื้อเพลิงหลัก ที่นำมาเผาเป็นพลังงาน จะเกิด By-product เป็น Lactic Acid
upper Limit .... คือ AT = Anaerobic Threshold เมื่อระดับ Lactic Acid ไม่สามารถกำจัดได้ทันเวลา
*** นักกีฬา ที่ฝึกวิ่งมาราธอน จะวิ่งได้ อึด เมื่อมีการฝึกในระดับนี้ จนทำให้ ระดับ upper Limit หรือ AT เพิ่มขึ้น
นอกจากนี้ Carnitine และ Vit B-6 จะเป็นตัวช่วยนำ FAT มาใช้เป็นพลังงานได้ก่อน ในขณะที่ระดับ Glucose ในกระแสเลือดยังมีสำรอง ... นี่คือ พลังงานเพิ่มขึ้น
เพิ่มได้ 2 อย่าง
1) การฝึก เพื่อยืด Anaerobic Threshold
2) มีพลังสำรองเพิ่ม จากระดับ Carnitine + Vit-B6 ที่เหมาะสม
(ต่อ) นักกีฬาเหรียญทอง 8 เหรียญ กับ Food for Fuel