2.1 ทำไมกฤษฎีกาถึงไปตีความว่า IPstar เป็นดาวเทียมนอกสัมปทาน
;====================\
คือตามจริง ไทยคม ต้องส่งดามเทียมดังนี้
1.ดาวเทียมหลัก(ไทยคม1)และดาวเทียมสำรองของดาวเทียมหลัก(ไทยคม2)
2.ดาวเทียมหลัก(ไทยคม3)และดาวเทียมสำรองของดาวเทียมหลัก(ไทยคม4)
(ไทยคม 5 ถูกส่งขึ้นสู่วงโคจรเมื่อปี 2549 เพื่อทดแทนไทยคม 3)
แต่บริษัทไทยคมขอปแก้สัญญาเปลี่นจากดาวเทียมไทยคม4 เป็น IPSTAR ซึ่งรมต.คมนาคมอนุมัติ
ศาลฎีกาเห็นว่าเป็นการกระทำเอื้อประโยชน์ และทำให้รัฐเสียหาย ว่า IPSTARไม่สามารถเป็นดาวเทียมสำรองของไทยคม3ได้ ทำให้ไม่มีความมั่นคง และทำให้ชาติเสียหาย
โดยปัญหาหลักที่บอกไว้คือ IPSTAR ไม่มีคลื่นความถี่C BAND (ไทยคม3ใช้C BANDอยู่) และทำให้กระทรวงคมนาคมไม่ได้ใช้วงจรดาวเทียม(เพราะใช้คลื่นความถี่ C BAND)
แต่ถ้าดูข้อเท็จจริงแล้ว IPSTAR(ให้คลื่นความถี่KU BAND,KA BAND ) เป็นดาวเทียมที่ดีมากมีประสิทธิภาพสูงกว่าประเทศทางยุโรปด้วย แม้แต่ในคำพิพากษาก็บอกไว้ว่าเป็นเทคโนโลยีใหม่ที่มีพัฒนาเป็นครั้งแรกของโลกมีการจดสิทธิบัตร
และสามารถใช้แทนคลื่นความถี่C BANDได้ ไม่มีปัญหา(อันนี้ดูจากข้อมูลดาวเทียมได้ ไม่ได้กล่าวเท็จ) ฉะนั้นจึงไม่น่าจะทำให้รัฐเสียหายแต่อย่างใด
และในสัญญาสัมปทานไม่ได้ระบุว่า ต้องมีคุณภาพเหมือนดาวเทียมหลัก เพียงแต่บอกว่า ต้องมีคุณภาพไม่ด้อยกว่าดาวเทียมดวงหลัก(ไทยคม3)
ปล.การสร้างไทยคม4000 ล้านบาท แต่IPSTAR 12000ล้านบาท(อันนี้ไม่แน่ใจ เพราะไม่อยู่ในประเด็นการพิพากษา)
และการตัดสินเกิดในช่วงที่..................................