|
เรียบเรียงใหม่ให้
เสริม คห.0 " แผนที่ ตำแหน่ง 3 มิติ จักรวาลบริเวณใกล้เรา " โหลดรูปเต็ม- http://myfile.in.th/index.php/files/get/O-CFf8ouim/universemap.jpg ที่มา- "The Universe" นิตยสาร National Geographic เสริม- ขวาบน กาแล็กซีท้องถิ่น แต่ละกลุ่ม -> ซ้ายบน ซูม กาแล็กซี่ของเรา กับกาแล็กซีเพื่อนบ้าน -> -> ซ้ายล่าง ซูม กาแล็กซีทางช้างเผือกของเรา -> -> ขวากลาง ซูม บริเวณที่ ระบบสุริยะของดาวฤกษ์เราอยู่ พร้อมตำแหน่งระบบสุริยะของดาวฤกษ์อื่น -> -> มุมล่างขวา ซูม ระบบสุริยะของเรา
คห.1 " แผนที่ ข้อมูลพื้นฐาน ของกาแล็กซีทางช้างเผือก และ ตำแหน่งดาวฤกษ์(ระบบสุริยะ)ต่างๆ ในกาแล็กซี " โหลด- http://myfile.in.th/index.php/files/get/Ux7-7M744N/national-geographic-milky-way-reference-map1.jpg ที่มา- "The Milky Way" นิตยสาร National Geographic เสริม- สังเกต WE ARE HERE ระบบสุริยะของเราอยู่ในทางช้างเผือก ส่วน ทางช้างเผือกที่เห็นบนฟ้า (บนสุด) ที่จริงคือ แขนข้างอื่นๆ ที่เห็นเป็นเกลียวซ้อนๆ กัน เมื่อมองตามขวาง ออกจากโลก (ดูภาพประกอบ http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/a/a7/Milky_Way_Arms_ssc2008-10.svg/500px-Milky_Way_Arms_ssc2008-10.svg.png หรือ รูปแถมข้างล่าง คห.นี้)
คห.2 " 50 ปี แห่งการสำรวจ อวกาศ " โหลด- http://myfile.in.th/index.php/files/get/pHXsHS6xDG/50-years-exploration-huge.jpg ที่มา- นิตยสาร National Geographic เสริม- เปรียบเทียบว่า ส่งยานไปสำรวจ ที่ไหนมากน้อย (มนุษย์ไม่เคยไปเหยียบดวงไหนนอกจากดวงจันทร์ของเราเอง ที่เหลือส่งยานไปทั้งนั้น)
คห.4 " กระจุกกาแล็กซี ในห้วงอวกาศลึก " โหลด- http://myfile.in.th/index.php/files/get/y8x3N2xvXD/galaxy-4b.jpg ที่มา- ESA, NASA, J.-P. Kneib, R. Ellis เสริม- แรงโน้มถ่วงจาก กระจุกฯ Abell 2218 ทำให้เกิดปรากฏการณ์ เลนส์สนามโน้มถ่วง ได้ชัดเจน คือหักเหภาพวัตถุอวกาศข้างหลังให้บิดเบี้ยวและซ้อนกันเหมือนเลนส์อวกาศ
คห.5 " พัฒนาการและประเภทของ กาแล็กซี " โหลด- http://myfile.in.th/index.php/files/get/WNniZVB9fr/sings-3col.jpg ที่มา- โครงการ สำรวจอวกาศใกล้ ในย่านรังสีอินฟราเรด ด้วยกล้องฯ Spitzer http://sings.stsci.edu เสริม- จับภาพในย่านคลื่นอินฟราเรต แทนย่านคลื่นแสง รวบรวมข้อมูลมากมาย รวมถึงข้อมูล กาแล็กซีต่างๆ ซึ่งช่วยศึกษา พัฒนาการเกิดประเภทต่างๆ ของกาแล็กซี่
คห.9 " จักรวาลใหญ่แค่ไหน " (ที่จริงต้องชื่อ " ระบบสุริยะใหญ่แค่ไหน " ) โหลด- http://myfile.in.th/index.php/files/get/RMyTPBDZxL/solar-system-final.jpg ที่มา- Robin Richards @ http://OnlineSchooling.net/universe-infographic เสริม- เปรียบเทียบ ขนาด และ ระยะทาง ในมาตราส่วนที่ถูกต้อง ของวัตถุในระบบสุริยะของเรา
คห.11 " พัฒนาการและอายุไขของ ดาวฤกษ์ " โหลด- http://myfile.in.th/index.php/files/get/WeHJDyVRW2/sn2006gy-newline.jpg ที่มา- National Geographic เสริม- ขึ้นอยู่กับ มวลรวม (ซึ่งมีอยู่ก่อนกำเนิดดาว ก็ได้จากซากของดาวอื่นที่อยู่บริเวณนั้น) มากสุด แบบ 1 -> ดาวยักษ์น้ำเงินใหญ่ -> ซุปเปอร์โนวา แบบ 2 -> ดาวยักษ์น้ำเงินใหญ่ -> หลุมดำ แบบ 3 -> ดาวยักษ์น้ำเงินใหญ่ -> ซุปเปอร์โนวา แบบ 2 -> หลุมดำ แบบ 4 -> ดาวยักษ์น้ำเงินใหญ่ -> ดาวยักษ์แดง -> ดาวยักษ์น้ำเงิน -> ซุปเปอร์โนวา แบบ 2 -> ดาวนิวตรอน แบบ 5 -> ดาวยักษ์น้ำเงินใหญ่ -> ดาวยักษ์แดง -> ซุปเปอร์โนวา แบบ 2 -> ดาวนิวตรอน แบบ 6 -> ดาวฤกษ์สีเหลือง (รวมดวงอาทิตย์ของเรา) -> ดาวยักษ์แดง -> เนบิวลาดาวเคราะห์ -> ดาวแคระขาว แบบ 7 -> ดาวแคระแดง -> ดาวแคระแดง -> ดาวแคระขาว แบบ 8 -> ดาวแคระน้ำตาล น้อยสุด
คห.13 " เปรียบเทียบ วัตถุในระบบสุริยะของเรา " โหลด- http://myfile.in.th/index.php/files/get/MyO02_eNBB/all-solar-system-bodies.jpg ที่มา- Alan Taylor @ http://kokoglak.com เสริม- เฉพาะที่ เส้นผ่านศูนย์กลางใหญ่กว่า 320 กม. ทุกดวงที่รู้จัก (ดวงที่ใหญ่กว่าโลก ให้ดูความโค้งแทนขนาดจริง) ได้แก่ 1 ดาวฤกษ์ (ดวงอาทิตย์), 4 ดาวเคราะห์แก๊สใหญ่, 4 ดาวเคราะห์หิน (รวมโลก), 3 ดาวเคราะห์แคระ, 21 ดวงจันทร์, 4 ดาวเคราะห์น้อย (ระหว่างดาวอังคารกับดาวพฤหัสบดี) และ 51 วัตถุนอกวงโคจรดาวเนปจูน
คห.14 " โครงสร้าง ระบบสุริยะ ของเรา เทียบกับ ระบบสุริยะ Epsilon Eridani " โหลด- http://myfile.in.th/index.php/files/get/HIRonkTPTW/hires.jpg http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/0/05/System_Epsilon_Eridani.JPG ที่มา- Jpl.Nasa.Gov เสริม- คล้ายกันคือ มี แถบดาวเคราะห์น้อย 2 วง อย่างของเรา แถบฯ วงใน คั่นระหว่าง ดาวเคราะห์หิน (วงใน) กับ ดาวเคราะห์แก๊ส (วงนอก)
คห.21 " ขนาดและข้อมูล ดวงจันทร์ต่างๆ ของ ดาวเสาร์ " โหลด- http://myfile.in.th/index.php/files/get/LzY0PTYqrq/moons-of-saturn-2007.jpg ที่มา- National Geographic เสริม- สำรวจปี 2007 มาตราส่วนไม่นับดาวเสาร์
แถม
จากคุณ |
:
Prof.Sirius
|
เขียนเมื่อ |
:
4 พ.ย. 54 03:12:34
|
|
|
|
|