 |
ตอนที่ไทยสั่งซื้อเรือฟริเกตสี่ลำต่อใหม่จากจีนในปี 1990, ซึ่งจีนต่อขึ้นตามมาตราฐานเรือฟริเกตของจีนเอง ในรุ่นล่าสุดในตอนนั้นเรียกว่า 0532 (เจียงหู 3). 2 ใน 4 ลำนั้นถูกดัดแปลงแบบให้มีลานจอดฮ.อยู่บริเวณท้ายเรือ
ถึงแม้ว่าราคาเรือจะถูกโคตรๆ เพียงลำละ สองพันล้านบาท หรือเพียง 1/4 ของราคาเรือแบบเดียวกันที่ต่อจากยุโรป, กองทัำพเรือไทยก็ต้องบ่นอุบกับปัญหาเรื่องคุณภาพของเรือที่ต่อออกมา. ยกตัวอย่างเช่น คุณภาพงานตัด งานประกอบ งานเชื่อม โครงสร้างเหล็กแบบแย่ๆ
สายไฟที่เดินระโยงระยางอยู่นอกฝ้าภายในเก๋งเรือ ในตอนแรก ต้องถูกรื้อเดินใหม่ให้เรียบร้อย. ระบบควบคุมความเสียหายจากการรบก็ติดตั้งไว้อย่างจำกัดมาก โดยมีแค่ระบบดับเพลิงและประตูผนึกน้ำแบบทั่วไป ไม่กี่จุด มีประสิทธิผลจำกัด ซึ่งแทบจะเรียกว่า มีก็เหมือนไม่มีก็ได้. ว่ากันว่า ขอเพียงตัวเรือทะลุไม่กี่แผลอย่างรวดเร็วพร้อมๆ กัน, ก็เพียงพอแล้วกับการที่น้ำจะท่วมเข้ามามากพอจนทำให้เรือจมได้. กองทัพเรือไทยต้องทุ่มเทเวลา และทรัพยากรเพิ่มเติมอีกมากในการแก้ไขปัญหาต่างๆ ดังยกตัวอย่างมานี้
When Thailand ordered four new 053 frigates in 1990, China built them to the (then) latest 053H2 (Jianghu III) standard. Two were modified with helicopter decks in the back. Although the price was excellent (2 billion baht each, compared to 8 billion baht for western ships), the Thai Navy complained of quality issues. The interior wiring was exposed and had to be re-wired. The ship's battle damage control system was very limited, with poor fire-suppression system and water-tight locks. It's said that if the ship's hull was breached, rapid flooding would lead to loss of ship. The Thai Navy had to spent considerable time and effort to correct some of these issues.
Apparently, these frigates proved less than impressive to the Thai Navy. The quality of workmanship of the frigate was said to be inferior, and considerable rework was needed to bring the vessels up to acceptable standards. The ability of the ships to resist battle damage was extremely limited, and damage control facilities were virtually non-existent. Fire-suppression systems were rudimentary, and it appeared that were the hull breached rapid flooding would quickly lead to the loss of the ship
http://en.wikipedia.org/wiki/HTMS_Naresuan http://www.globalsecurity.org/military/world/thailand/naresuan.htm
ถ้าเชคจากเวปไซต์ในต่างประเทศ ไม่มีแหล่งข่าวสากลไหนเลย ที่ให้เครดิตกองทัพเรือไทย ว่าเป็นผู้ออกแบบ หรือร่วมออกแบบเรือชุดนเรศวร ดังกล่าว มีแต่ให้เครดิตกับ China State Shipbuilding Corp จากเซี่ยงไฮ้เท่านั้น (ซึ่งถ้าอ่านจากปัญหาข้างบน ก็อาจจะคิดว่า โชคดีแล้ว ที่กองออกแบบจากไทย จะไม่ต้องเสียชื่อไปด้วย เวลาที่เรือสร้างแล้วมันออกมาไม่ค่อยดี ก็โทษจีนไปนั่นแหละ ง่ายๆ ...ของถูก และดีไม่มีในโลกอยู่แล้ว)
**ขอแก้ไขข้อความ เพราะผมจำเรือ OPV ชุด ปัตตานี ที่ต่อจากจีน เซ็นต์สัญญาเมื่อปี 2002 สับกับ เรือหลวงนเรศวร ซึ่งเป็น ฟริเกต ต่อที่จีนเมื่อปี 1990**
แก้ไขเมื่อ 12 ก.พ. 55 19:20:02
แก้ไขเมื่อ 12 ก.พ. 55 18:11:55
แก้ไขเมื่อ 12 ก.พ. 55 18:10:26
จากคุณ |
:
Sgt.Oat
|
เขียนเมื่อ |
:
12 ก.พ. 55 18:01:40
|
|
|
|
 |